Practicing even a few minutes per day can provide a reserve of inner calm We all face stressful situations throughout our lives, ranging from minor annoyances like traffic jams to more serious worries, such as a loved one's grave illness. No matter what the cause, stress floods your body with hormones. Your heart pounds, your breathing speeds up, and your muscles tense. This so-called "stress response" is a normal reaction to threatening situations, honed in our prehistory to help us survive threats like an animal attack or a flood. Today, we rarely face these physical dangers, but challenging situations in daily life can set off the stress response. We can't avoid all sources of stress in our lives, nor would we want to. But we can develop healthier ways of responding to them. One way is to invoke the "relaxation response," through a technique first developed in the 1970s at Harvard Medical School by cardiologist Dr. Herbert Benson, editor of the Ha
วิธีปฏิบัติเพื่อลดความเครียดมีมากมาย หลายคนอาจเคยใช้ เช่น การเล่นดนตรี การฟังเพลง วาดรูป ปลูกต้นไม้ หรือออกกำลังกาย เหล่านี้เป็นวิธีการที่ไม่เจาะจง สามารถเลือกใช้ได้เมื่อเผชิญกับความเครียดไม่รุนแรง ส่วนวิธีที่จะนำเสนอต่อไปนี้ นับเป็นวิธีการเฉพาะในการลดความเครียดในทางวิชาการ ซึ่งสามารถลดความเครียดได้ ขึ้นอยู่กับว่าใครใช้ได้ผลมากน้อยแค่ไหน เมื่อเครียด กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายจะหดเกร็งและจิตใจจะวุ่นวายสับสน ดังนั้น เทคนิคการผ่อนคลายความเครียดส่วนใหญ่จึงเน้นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และการทำจิตใจให้สงบเป็นหลัก ซึ่งวิธีที่จะนำเสนอในที่นี้ จะเป็นวิธีง่ายๆ สามารถทำได้ด้วยตัวเอง มี 8 วิธีดังนี้ 1. การฝึกเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ 2. การฝึกการหายใจ 3. การทำสมาธิเบื้องต้น 4. การใช้เทคนิคความเงียบ 5. การใช้จินตนาการ 6. การทำงานศิลปะ 7. การใช้เสียงเพลง 8. การใช้เทปเสียงคลายเครียดด้วยตัวเอง ขอให้คุณลองอ่านวิธีทั้งหมดอย่างคร่าวๆ ดูก่อน หากชอบวิธีไหนเป็นพิเศษจึงค่อยอ่านโดยละเอียด และนำไปฝึกฝนด้วยความตั้งใจต่อไป ในการฝึกครั้งแรกๆ ใจอาจจะยังคอยพะวงอยู่กับขั้นตอนการฝึกจนรู้สึกว่าควา